พุทธศักราช 2551
*สุบิน ณ อัมพร
เอกสารทางไกลฉบับที่ 5/2551 นี้ ก็ยังเป็นเรื่องของ
หลักสูตาแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
จะเห็นว่าสิ่งที่เพิ่มขึ้นมา คือ วิสัยทัศน์ สมรรถนะสำคัญ
และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และอีกคำจะต้องทำความเข้าใจ
คือคำว่า "ตัวชี้วัด" ซึ่งเป็นอย่างไรนั้น คงต้องย้อนกลับไปดู
เอกสารทางไกล ฉบับที่ 4/2551
(ต่อ..กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คุณภาพผู้เรียนเมื่อนักเรียน
จบชั้น 1ป.3 ป.6 ม.3 และม.6 จะต้องมีความรู้ ความเข้าใจ
ความสามารถตลอดจนทักษะในเรื่องต่อไปนี้)
คุณภาพผู้เรียน
จบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
· เข้าใจลักษณะทั่วไปของสิ่งมีชีวิต และการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิต
ที่หลากหลายในสิ่งแวดล้อมท้องถิ่น
· เข้าใจลักษณะที่ปรากฏและการเปลี่ยนแปลงของวัสดุรอบตัว
· เข้าใจลักษณะที่ปรากฏและการเปลี่ยนแปลงของวัสดุรอบตัว
แรงในธรรมชาติ รูปของพลังงาน
· เข้าใจสมบัติทางกายภาพของดิน หิน น้ำ อากาศ
· เข้าใจสมบัติทางกายภาพของดิน หิน น้ำ อากาศ
ดวงอาทิตย์ และดวงดาว
· ตั้งคำถามเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต วัสดุและสิ่งของ และปรากฏการณ์
· ตั้งคำถามเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต วัสดุและสิ่งของ และปรากฏการณ์
ต่างๆ รอบตัว สังเกต สำรวจตรวจสอบโดยใช้เครื่องมืออย่างง่าย
และสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ด้วยการเล่าเรื่อง เขียน หรือวาดภาพ
· ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในการดำรงชีวิต
· ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในการดำรงชีวิต
ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม ทำโครงงานหรือชิ้นงานตามที่กำหนดให้
หรือตามความสนใจ
· แสดงความกระตือรือร้น สนใจที่จะเรียนรู้ และแสดงความซาบซึ้ง
· แสดงความกระตือรือร้น สนใจที่จะเรียนรู้ และแสดงความซาบซึ้ง
ต่อสิ่งแวดล้อมรอบตัว แสดงถึงความมีเมตตา ความระมัดระวัง
ต่อสิ่งมีชีวิตอื่น
· ทำงานที่ได้รับมอบหมายด้วยความมุ่งมั่น รอบคอบ ประหยัด
· ทำงานที่ได้รับมอบหมายด้วยความมุ่งมั่น รอบคอบ ประหยัด
ซื่อสัตย์ จนเป็นผลสำเร็จ และทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข
จบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
· เข้าใจโครงสร้างและการทำงานของระบบต่างๆ ของสิ่งมีชีวิต
จบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
· เข้าใจโครงสร้างและการทำงานของระบบต่างๆ ของสิ่งมีชีวิต
และความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตที่หลากหลายในสิ่งแวดล้อมที่แตกต่างกัน
· เข้าใจสมบัติและการจำแนกกลุ่มของวัสดุ สถานะของสาร
· เข้าใจสมบัติและการจำแนกกลุ่มของวัสดุ สถานะของสาร
สมบัติของสารและการทำให้สารเกิดการเปลี่ยนแปลง
สารในชีวิตประจำวัน การแยกสารอย่างง่าย
· เข้าใจผลที่เกิดจากการออกแรงกระทำกับวัตถุ ความดัน
· เข้าใจผลที่เกิดจากการออกแรงกระทำกับวัตถุ ความดัน
หลักการเบื้องต้นของแรงลอยตัว สมบัติและปรากฏการณ์เบื้องต้น
ของแสง เสียง และวงจรไฟฟ้า
· เข้าใจลักษณะ องค์ประกอบ สมบัติของผิวโลก และบรรยากาศ
· เข้าใจลักษณะ องค์ประกอบ สมบัติของผิวโลก และบรรยากาศ
ความสัมพันธ์ของดวงอาทิตย์ โลก และดวงจันทร์ที่มีผลต่อ
การเกิดปรากฎการณ์ธรรมชาติ
· ตั้งคำถามเกี่ยวกับสิ่งที่จะเรียนรู้ คาดคะเนคำตอบหลายแนวทาง
· ตั้งคำถามเกี่ยวกับสิ่งที่จะเรียนรู้ คาดคะเนคำตอบหลายแนวทาง
วางแผนและสำรวจตรวจสอบโดยใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ วิเคราะห์ข้อมูล
และสื่อสารความรู้จากผลการสำรวจตรวจสอบ
·ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการดำรงชีวิต
·ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการดำรงชีวิต
และการศึกษาความรู้เพิ่มเติม ทำโครงงานหรือชิ้นงานตาม
ที่กำหนดให้หรือตามความสนใจ
· แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น รับผิดชอบ รอบคอบและซื่อสัตย์
· แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น รับผิดชอบ รอบคอบและซื่อสัตย์
ในการสืบเสาะหาความรู้
· ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
· ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แสดงความชื่นชม ยกย่อง และเคารพสิทธิในผลงานของผู้คิดค้น
· แสดงถึงความซาบซึ้ง ห่วงใย แสดงพฤติกรรมเกี่ยวกับ
· แสดงถึงความซาบซึ้ง ห่วงใย แสดงพฤติกรรมเกี่ยวกับ
การใช้การดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างรู้คุณค่า
· ทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็น
· ทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็น
ของตนเองและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
· เข้าใจลักษณะและองค์ประกอบที่สำคัญของเซลล์สิ่งมีชีวิต
จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
· เข้าใจลักษณะและองค์ประกอบที่สำคัญของเซลล์สิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของการทำงานของระบบต่างๆ การถ่ายทอดลักษณะ
ทางพันธุกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมและการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในสิ่งแวดล้อม
· เข้าใจองค์ประกอบและสมบัติของสารละลาย สารบริสุทธิ์
· เข้าใจองค์ประกอบและสมบัติของสารละลาย สารบริสุทธิ์
การเปลี่ยนแปลงของสารในรูปแบบของการเปลี่ยนสถานะ
การเกิดสารละลายและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
· เข้าใจแรงเสียดทาน โมเมนต์ของแรง การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
· เข้าใจแรงเสียดทาน โมเมนต์ของแรง การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
ในชีวิตประจำวัน กฎการอนุรักษ์พลังงาน การถ่ายโอนพลังงาน
สมดุลความร้อน การสะท้อน การหักเหและความเข้มของแสง
· เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณทางไฟฟ้า หลักการต่อ
· เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณทางไฟฟ้า หลักการต่อ
วงจรไฟฟ้าในบ้าน พลังงานไฟฟ้าและหลักการเบื้องต้นของ
วงจรอิเล็กทรอนิกส์
· เข้าใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก แหล่งทรัพยากรธรณี
· เข้าใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก แหล่งทรัพยากรธรณี
ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของบรรยากาศ ปฏิสัมพันธ์ภาย
ในระบบสุริยะ และผลที่มีต่อสิ่งต่างๆ บนโลก ความสำคัญของ
เทคโนโลยีอวกาศ
· เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี
· เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี
การพัฒนาและผลของการพัฒนาเทคโนโลยีต่อคุณภาพชีวิต
และสิ่งแวดล้อม
· ตั้งคำถามที่มีการกำหนดและควบคุมตัวแปร คิดคาดคะเนคำตอบ
· ตั้งคำถามที่มีการกำหนดและควบคุมตัวแปร คิดคาดคะเนคำตอบ
หลายแนวทาง วางแผนและลงมือสำรวจตรวจสอบ
วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของข้อมูล
และสร้างองค์ความรู้
· สื่อสารความคิด ความรู้จากผลการสำรวจตรวจสอบโดยการพูด
· สื่อสารความคิด ความรู้จากผลการสำรวจตรวจสอบโดยการพูด
เขียน จัดแสดง หรือใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
· ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
· ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ในการดำรงชีวิต การศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม ทำโครงงาน
หรือสร้างชิ้นงานตามความสนใจ
· แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น รับผิดชอบ รอบคอบ และซื่อสัตย์
· แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น รับผิดชอบ รอบคอบ และซื่อสัตย์
ในการสืบเสาะหาความรู้โดยใช้ เครื่องมือและวิธีการที่
ให้ได้ผลถูกต้องเชื่อถือได้
· ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
· ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ที่ใช้ในชีวิตประจำวันและการประกอบอาชีพ แสดงความชื่นชม
ยกย่องและเคารพสิทธิในผลงานของผู้คิดค้น
· แสดงถึงความซาบซึ้ง ห่วงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้
· แสดงถึงความซาบซึ้ง ห่วงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้
และรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างรู้คุณค่า
มีส่วนร่วมในการพิทักษ์ ดูแลทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น
· งานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็น
· งานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็น
ของตนเองและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖
· เข้าใจการรักษาดุลยภาพของเซลล์และกลไก
จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖
· เข้าใจการรักษาดุลยภาพของเซลล์และกลไก
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
· เข้าใจกระบวนการถ่ายทอดสารพันธุกรรม การแปรผันมิวเทชัน
· เข้าใจกระบวนการถ่ายทอดสารพันธุกรรม การแปรผันมิวเทชัน
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
และปัจจัยที่มีผลต่อการอยู่รอดของสิ่งมีชีวิตในสิ่งแวดล้อมต่างๆ
·เข้าใจกระบวนการ ความสำคัญและผลของเทคโนโลยีชีวภาพ
·เข้าใจกระบวนการ ความสำคัญและผลของเทคโนโลยีชีวภาพ
ต่อมนุษย์ สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
· เข้าใจชนิดของอนุภาคสำคัญที่เป็นส่วนประกอบในโครงสร้างอะตอม
· เข้าใจชนิดของอนุภาคสำคัญที่เป็นส่วนประกอบในโครงสร้างอะตอม
การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ การเกิดปฏิกิริยาเคมีและเขียนสมการเคมี
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
· เข้าใจชนิดของแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคและสมบัติต่างๆ
· เข้าใจชนิดของแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคและสมบัติต่างๆ
ของสารที่มีความสัมพันธ์กับแรงยึดเหนี่ยว
· เข้าใจการเกิดปิโตรเลียม การแยกแก๊สธรรมชาติ
· เข้าใจการเกิดปิโตรเลียม การแยกแก๊สธรรมชาติ
และการกลั่นลำดับส่วนน้ำมันดิบ การนำผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม
ไปใช้ประโยชน์และผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
· ข้าใจชนิด สมบัติ ปฏิกิริยาที่สำคัญของพอลิเมอร์และสารชีวโมเลกุล
· เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบต่างๆ
· ข้าใจชนิด สมบัติ ปฏิกิริยาที่สำคัญของพอลิเมอร์และสารชีวโมเลกุล
· เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบต่างๆ
สมบัติของคลื่นกล คุณภาพของเสียงและการได้ยิน สมบัติ ประโยชน์
โทษของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า กัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร์
· ข้าใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลกและปรากฏการณ์ทางธรณี
· ข้าใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลกและปรากฏการณ์ทางธรณี
ที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
· เข้าใจการเกิดและวิวัฒนาการของระบบสุริยะ
· เข้าใจการเกิดและวิวัฒนาการของระบบสุริยะ
กาแล็กซี เอกภพและความสำคัญของเทคโนโลยีอวกาศ
· เข้าใจความสัมพันธ์ของความรู้วิทยาศาสตร์ที่มีผลต่อ
· เข้าใจความสัมพันธ์ของความรู้วิทยาศาสตร์ที่มีผลต่อ
การพัฒนาเทคโนโลยีประเภทต่างๆ และการพัฒนาเทคโนโลยี
ที่ส่งผลให้มีการคิดค้นความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่ก้าวหน้า
ผลของเทคโนโลยีต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม
· ระบุปัญหา ตั้งคำถามที่จะสำรวจตรวจสอบ โดยมีการกำหนด
· ระบุปัญหา ตั้งคำถามที่จะสำรวจตรวจสอบ โดยมีการกำหนด
ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่างๆ สืบค้นข้อมูลจากหลายแหล่ง
ตั้งสมมติฐานที่เป็นไปได้หลายแนวทาง ตัดสินใจเลือก
ตรวจสอบสมมติฐานที่เป็นไปได้
· วางแผนการสำรวจตรวจสอบเพื่อแก้ปัญหาหรือตอบคำถาม
· วางแผนการสำรวจตรวจสอบเพื่อแก้ปัญหาหรือตอบคำถาม
วิเคราะห์ เชื่อมโยงความสัมพันธ์ของตัวแปรต่างๆ โดยใช้
สมการทางคณิตศาสตร์หรือสร้างแบบจำลองจากผล
หรือความรู้ที่ได้รับจากการสำรวจตรวจสอบ
· สื่อสารความคิด ความรู้จากผลการสำรวจตรวจสอบโดยการพูด
· สื่อสารความคิด ความรู้จากผลการสำรวจตรวจสอบโดยการพูด
เขียน จัดแสดง หรือใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
· อธิบายความรู้และใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการดำรงชีวิต
· อธิบายความรู้และใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการดำรงชีวิต
การศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม ทำโครงงานหรือสร้างชิ้นงานตามความสนใจ
· แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น รับผิดชอบ รอบคอบและซื่อสัตย์
· แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น รับผิดชอบ รอบคอบและซื่อสัตย์
ในการสืบเสาะหาความรู้ โดยใช้เครื่องมือและวิธีการที่
ให้ได้ผลถูกต้องเชื่อถือได้
· ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
· ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ที่ใช้ในชีวิตประจำวัน การประกอบอาชีพ แสดงถึงความชื่นชม
ภูมิใจ ยกย่อง อ้างอิงผลงาน ชิ้นงานที่เป็นผลจากภูมิปัญญาท้องถิ่น
และการพัฒนาเทคโนโลยีที่ทันสมัย
· แสดงความซาบซึ้ง ห่วงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้
· แสดงความซาบซึ้ง ห่วงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้
และรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างรู้คุณค่า
เสนอตัวเองร่วมมือปฏิบัติกับชุมชนในการป้องกัน
ดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่น
· แสดงถึงความพอใจ และเห็นคุณค่าในการค้นพบความรู้
· แสดงถึงความพอใจ และเห็นคุณค่าในการค้นพบความรู้
พบคำตอบ หรือแก้ปัญหาได้
· ทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็น
· ทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็น
โดยมีข้อมูลอ้างอิงและเหตุผลประกอบ เกี่ยวกับผลของ
การพัฒนาและการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อย่างมีคุณธรรมต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
(โปรดติดตามต่อไปนะคะ)
(โปรดติดตามต่อไปนะคะ)
--------------
* ศึกษานิเทศก์ ชำนาญการพิเศษ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครนายก